สวนพฤกษศาสตร์
ความหมายของดอกดาหลา
ก่อนหน้านี้เราก็ไม่เคยรู้ว่าดอกดาหลามีตำนานเรื่องเล่าอะไรมาบ้างหรอกนะ แต่พอ ลองค้นดูก็ได้ เจอว่าดาหลาเป็นสัญลักษณ์ของการรอคอยความรัก

อนุกรมวิธานของดาหลา
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name):
|
Etlingera elatior (Jack) R.M. Smith
|
ชื่อพ้อง (Synonym):
|
Phaeomeria magnifica, Nicolaia elatior
|
ชื่อสามัญ (Common name):
|
ดาหลา (Torch Ginger)
|
วงศ์ (Family):
|
Zingiberales
|
ชื่ออื่นๆ (Other name):
|
กาหลา
|
ถิ่นกำเนิด (Origin):
|
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
- ลําต้น : ดาหลาเป็นพืชที่มีลักษณะคล้ายข่า มีลําต้นใต้ดินเรียกว่าเหง้า (rhizome) เหง่านี้จะเป็นบริเวณที่เกิดของหน่อดอกและหน่อต้น ดาหลา 1 ต้น สามารถให้หน่อใหม่ได้ประมาณ 7 หน่อ ในเวลา 1 ปี ส่วนลําต้นเหนือดินเป็นกาบใบที่โอบซ้อนกันแน่น เช่นเดียวกับพวกกล้วย ส่วนนี้คือลําต้นเทียม (pseudostem) ลําต้นเหนือดินสูง 2-3 เมตร มีสีเขียวเข้ม เกษตรบ้านอะลาง

การขยายพันธุ์ดาหลา
1. การแยกหน่อ ควรแยกหน่อที่มีความเหมาะสมนําไปปลูกคือสูงประมาณ 60-100ซ.ม.
2. การแยกเหง้า โดยการแยกเหง้าที่เกิดใหม่ที่โคนต้น แล้วนําไปชําในแปลงเพาะชํา
3. การปักชําหน่อแก่ โดยนําไปชําในแปลงเพาะชํา แล้วจึงค่อยย้ายมาปลูกลงแปลง

การดูแลรักษา
ดาหลาเป็นพืชที่ต้องการนํ้าในปริมาณที่มากพอสมควร การปลูก ควรรดนํ้าให้ชุ่ม
การป้องกันกําจัด
ใช้ฟูราดาน 3% โรยบริเวณรอบๆโคนต้น หรืออาจใช้เซฟวิน มดแดง
โรคและแมลง
ยังไม่พบโรคที่เป็นปัญหาสําคัญกับดาหลา
การป้องกันกําจัดวัชพืช
ดาหลาเป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตเร็ว แตกหน่อได้มากทำให้กอแน่นใบบังแสง
สวยงามมาก
ตอบลบ